สสวท. พารอบรู้วิทยาศาสตร์ กับ “เคมีของเหล็กข้ออ้อย”

แชร์บทความ

Share on facebook
Share on twitter

กระทรวงอุตสาหกรรม แถลงผลการตรวจสอบคุณภาพเหล็กข้ออ้อย 28 เส้น วัสดุที่ใช้ในการก่อสร้าง อาคารสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) หลังเกิดเหตุถล่มลงมาจากแผ่นดินไหว ทุกคนสงสัยกันไหมว่า เหล็กข้ออ้อยคืออะไร วันนี้มีคำตอบ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) พามาเติมเต็มความรู้วิทยาศาสตร์ กับ “เคมีของเหล็กข้ออ้อย” ซึ่งเหล็กข้ออ้อยนั้น คือ เหล็กเส้นกลมที่มีบั้ง (transverse rib) และอาจมีครีบ (longitudinal rib) หรือ ช่องว่าง (gab) ที่ผิว เพื่อเสริมกำลังยึดระหว่างเหล็กเส้น กับ เนื้อคอนกรีต โดยทำขึ้นจากเหล็กแท่งเล็ก เหล็กแท่งใหญ่ หรือ เหล็กแท่งหล่อโดยตรง ด้วยวิธีการรีดร้อน โดยไม่มีการแปรรูปผลิตภัณฑ์อย่างอื่นมาก่อน และเหล็กดังกล่าวต้องทำมาจากกรรมวิธี โอเพนฮาร์ท (open hearth process) เบสิกออกซิเจน (basic oxygen process) หรือ อิเล็กทริกอาร์กเฟอร์เนซ (electric arc furnace process) ดูรายละเอียดและส่วนประกอบทางเคมีของเหล็กข้ออ้อย ได้ที่ เฟซบุ๊ก ChemistryIPST สสวท. https://shorturl.asia/ydmJU

RANDOM

You cannot copy content of this page

error: Content is protected !!